อย่างนี้ ถือว่าอยู่เกินวีซ่าประเทศไทยหรือเปล่าคะ เเละพาสปอร์ตไทยหมดอายุเข้าไทยได้ไหม

รบกวนถาม ถ้าต่างชาติไปเมืองไทย วันที่ ๑๕ ธันวาคม เวลา ๐๖.๐๐ น. เเล้วจะออกจากเมืองไทยวันที่ ๑๕ มกราคม เวลา ๑๒.๓๐ น. เเบบนี้ถือว่าอยู่เกินวีซ่าใช่ไหมคะ เเล้วเสียค่าปรับที่สนามบินได้ไหมคะ หรือต้องไปทำเรื่องที่ตม.สวนพลู

อีกเรื่อง พาสปอร์ตไทย ถ้าหมดอายุ เรายังสามารถเดินทางเข้าประเทศไทยได้ใช่ไหมคะ หรือถ้าใครถือพาสปอร์ตสัญชาติอื่น เวลาเดินทางออกนอกประเทศนั้นๆ เเล้วขากลับเหลือไม่ถึง ๖เดือน ยังใช้เข้าประเทศนั้นๆได้ใช่ไหม รบกวนบอกชื่อประเทศด้วยได้ไหมคะ

ความคิดเห็นที่ 1
ปกติต้องออก14หนิครับ ผมไม่เคยเห็นตราประทับเข้าประเทศไทยแต่มันน่าจะมีวันที่บอกนะครับ


ตอบกลับความเห็นที่ 1
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 2
อยู่เกิน. If he could stay up to 30 days in Thailand, he has to leave on 13 Jan (because 31 December is counted as well.)

เเล้วเสียค่าปรับที่สนามบินได้... I am not sure how much it costs though.

----------
ถ้าใครถือพาสปอร์ตสัญชาติอื่น เวลาเดินทางออกนอกประเทศนั้นๆ เเล้วขากลับเหลือไม่ถึง ๖เดือน ยังใช้เข้าประเทศนั้นๆได้ ... there is no proble because it is his own country.


ตอบกลับความเห็นที่ 2
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 3
If it can't be helped then pay 500 Baht per day

http://www.thaivisa.com/visa-overstay-thailand.html

You can easy clear an heavy overstay at the Airport, but if you are caught by Immigration before you reach the airport, you will be jailed and deported until you can pay your fine and show a one way ticket back to your home country.

If you overstay by one day, there is no charge. After that, it’s 500B per day, so 2 days is a 1,000B fine, 3 days 1,500B etc…

Paying the fine is simple. When going through Immigration, they will notice the overstay and take you to a desk to pay it, taking about 5 minutes in all. Fines can also often by paid in advance at any Immigration bureau. You will not be jailed it you volontarily clear up your overstay.

Warning – Note that overstaying is technically breaking the law and while there is little problem with it if you ‘surrender’ yourself to Immigration at the airport, it can be a very different story if you are stopped by the police beforehand for whatever reason and are found to have overstayed – no matter for how long. This may well lead to you being detained in one of the feared Immigration Detention Center for a few days while your case is processed. Needless to say, this is an experience you can well do without, as conditions inside have been described by Amnesty International as ‘cruel and degrading’ and ‘seriously overcrowded’.


ตอบกลับความเห็นที่ 3
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 4
ถ้าอยู่อเมริกาจะไม่ได้ขึ้นเครื่อง
เพราะอเมริกาจะใช้เจ้าหน้าที่ของสายการบินเป็นตมขาออก
ตอนเช็กอินซ้อพเวอร์จะบอกให้พนักงานสะแกนพาสปอต์
แล้วซ้อพเวอร์จะไปเทียบกับวันที่กลับของตั๋ว
ถ้าเกิน๓๐วันต้องมีวีซ่าเข้าไทย
เขาจะพลิกหน้าพาสปอต์ เพื่อจะหาวีซ่าเข้าประเทศไทย
ถ้าไม่มีก็จะไม่ให้ขึ้นเครื่อง

ทางเลือกคือต้องจ่ายเงินค่าเปลี่ยนตัววันกลับให้น้อยกว่า๓๐วัน
ค่าเปลี่ยนตั๋วแล้วแต่สายการบินจะประมาณ๑๕๐เหรียญ

เรืองพาสปอต์ถ้าหมดอายุแล้วมันก็เหมือนเศษกระดาษ
ใช้งานไม่ได้


ตอบกลับความเห็นที่ 4
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 5
อยู่เกินไป 2 วันค่ะ เสียค่าปรับที่สนามบิน 1,000 บาท เดือนธันว่ามี 31 วีซ่าน่าจะอยู่ได้ถืงวันที่ 13 มค ถ้าอยู่เกินแค่วันเดียวส่วนมาก ตมจะไม่ปรับ


ตอบกลับความเห็นที่ 5
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 6
ขอบคุณมากค่ะ

ตอนนี้สามีดิฉันกำลังวิตก กลัวถูกจับก่อนในระหว่างสองวันที่วีซ่าหมด ตามคุณgenfว่า เเบบพวกตาขาวน่ะค่ะ อาจจะขอวีซ่าก่อนไป เเต่ก็กลัวไม่ทันเหมือนกัน เพราะต้องส่งพาสปอร์ตไปกลับอีก


ตอบกลับความเห็นที่ 6
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 7
สามีของญาติ Over Stay ประมาณ 3 เดือน และได้จองตั๋วเดินทางวันที่ 25 พ.ย. ไปเสียค่าปรับที่สนามบิน ตม สุวรรณภูมิ ทางนั้นเรียกเก็บเงินเป็นจำนวน 33000 ทางสามีของญาติมีเงินไม่พอเลยไม่ได้บิน กรณีแบบนี้ไม่ทราบว่าทาง ตม สุวรรณภูมิเปลี่ยนกฎหมายอะไรใหม่หรือว่ายังไง

อันนี้ก๊อบมาจากเว็บของ immigration
ตามบันทึกคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๕๔๙ บอกว่าเรื่องมอบอำนาจให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการเปรียบเทียบ
ให้ดำเนินการเปรียบเทียบปรับตามจำนวนวันที่คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรโดยการอนุญาตสิ้นสุดหรือถูกเพิกถอน วันละ ๕๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท


ตอบกลับความเห็นที่ 7