เรียนถามคุณ Lawanwadee ทำไมทนายอเมริกันนั่งให้คำปรึกษากฎหมายในไทยแถวสีลมได้

เห็นทนายอเมริกันไม่มีตั๋วทนายไทยนั่งให้คำปรึกษากฎหมายในไทยแถวสีลมได้ เช่นเดียวกันถ้าผมเป็นทนายไทยตามกฎหมายไทย ผมจะให้คำปรึกษากฎหมายไทยต่อคนไทยในแอลเอ หรือในสหรัฐผมจะทำได้หรือไม่ ต้องลงทะเบียนที่ไหนอย่างไรหรือไม่ เห็นหลายคนมีปัญหาแล้วอยากช่วย ตอนนี้ผมเป็น Permanent Resident ในสหรัฐครับ

ความคิดเห็นที่ 1
ถามจขกทเพิ่มเติม
ที่ทนายต่างประเทศนั่งให้คำปรึกษากฎหมายนี่มีทนายไทยนั่งอยู่ด้วยมั้ยคะ


ตอบกลับความเห็นที่ 1
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 2
ถ้าคุณเป็นนักกฏหมาย หรือเป็นทนาย ไม่น่าจะต้องถามคำถามนี้นะคะ


ตอบกลับความเห็นที่ 2
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 3
การไปนั่งเป็นที่ปรึกษาไม่ว่าทนายหรือไม่ก็เป็นแค่ที่ปรึกษา ไม่มีผลผูกพันทางกฏหมาย เป็นนักกฏหมายต้องรู้ข้อนี้ดี คนไทยในเมกาเขามีแต่ถามข้อกฏหมายของเมกา น้อยคนน้อยครั้งที่จะมีคำถามเกี่ยวกับข้อกฏหมายเมืองไทย

จขกท เป็นทนายไทยจะมาเป็นที่ปรึกษาด้านกฏหมายในเมกา ต้องเข้าใจด้วยว่า กฏหมายเมกากับกฏหมายไทยแตกต่างกันทั้งในเจตนารมย์และข้อปลีกย่อย การบังคับใช้ ยกตัวอย่างง่ายๆ ไปดูกฏหมายล้มละลายของไทยและเมกาก็พอ ของไทยมีแต่เจ้าหนี้ฟ้องให้ล้ม ของเมกาเจ้าหนี้ไม่อยากฟ้อง แต่เป็นลูกหนั้ฟ้องล้มตัวอง จะเห็นในโฆษณาตามสื่อต่างๆ ว่าทำล้มฯเริ่มแค่นั้นแค่นี้ตังค์เท่านั้นเอง จขกท เป็นทนายน่าจะค้นหาข้อมูลหน่อยว่า ทำไมถึงกลับตารปัทร์เป็นแบบนั้น?


ตอบกลับความเห็นที่ 3
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 4
Lawyer กับ Legal Assistant ทำหน้าที่ต่างกันนะคะ

คุณวุฒิทางการศึกษาก็ไม่เหมือนกัน ทนายความ ว่าความได้แน่

แต่ผู้ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับเอกสารให้ข้อมูลกฎหมาย ในสำนักทนายใดๆ

ไม่ได้ผ่านการศึกษาขั้นสูงหรือสอบบาร์ และข้อกำหนดอื่นๆของสหรัฐฯ


ในอเมริกา มีคนไทยจำนวนไม่น้อย ที่เข้าไปทำงานในส่วนผู้ช่วยทนาย

แต่ไม่ได้เป็นทนายความ บางคน...ก็ปล่อยให้ผู้คนเข้าใจว่าเป็นทนาย


เคยรู้จักเจ้าหน้าที่ข้อมูลคนหนึ่งที่ทำหน้าที่ผู้ช่วยทนายในสำนักกฎหมาย

ทำงานให้ทนายฝรั่ง ทางด้านอิมมิเกรชั่น เธอเก่งมากค่ะ รอบรู้สารพัด

ยังเคยแนะแนวทางให้เรียนเป็นลีกัลแอสซิสแทนท์ ให้บริการปรึกษา


การเข้าสู่ระบบศึกษาให้เป็นทนาย กับเป็นเจ้าหน้าที่ในสำนักกฎหมาย

จะมีข้อกำหนดต่างกัน ลองเสิร์ชดูนะคะ ไม่กี่วินาทีก็ได้คำตอบแท้ๆแล้ว


ทุกวันนี้ การทำหน้าที่ในส่วนให้คำปรึกษา ก็เป็นอีกทางเลือกที่ดีนะคะ




คุณจขกท. ยังอยู่นนทบุรีอยู่เลยตอนนี้ ถ้ากลับมาสหรัฐฯเอาปริญญามา

แล้วสมัครสอบให้ตรงตามที่สถาบันเขากำหนดนะคะ ต้องมีประสบการณ์

นอกเหนือจากนี้ ก็ทักษะภาษาและความสามารถในการพูดด้วยเหตุผล

ทนายในสหรัฐฯ จะมีงานยุ่งมาก หน้าที่ในศาลเป็นหลัก ไม่ค่อยมีเวลา

ป้อนข้อมูลหรือให้คำปรึกษา ได้มากเท่าผู้ช่วยด้านเอกสาร กลุ่มนี้จึงดู

เหมือนจะเก่งกว่าในด้านคำปรึกษา หรือการบรีฟข้อมูลขั้นตอนในคดี


ป.ล. ชอบอ่านคำตอบภาษาไทยของคคห.๓ ค่ะ ได้แป้นไทยแล้วเหรอ


ตอบกลับความเห็นที่ 4
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 5


FYI

Refer http://irs-lawyer.ru

Quote "How to Become a Lawyer in US"

Law attorney's advice on what you need to become a lawyer in usa? becoming a lawyers

Formal requirements to become a lawyer usually include a 4-year college degree, 3 years of law school, and passing a written bar examination; however, some requirements may vary by State.

Competition for admission to most law schools is intense.
Federal courts and agencies set their own qualifications for those practicing before or in them.

Education and training.

Becoming a lawyer usually takes 7 years of full-time study after high school - 4 years of undergraduate study, followed by 3 years of law school.

Law school applicants must have a bachelor’s degree to qualify for admission. To meet the needs of students who can attend only part time, a number of law schools have night or part-time divisions.

Info on “How do I become a lawyer in Canada or USA?”

Although there is no recommended “prelaw” undergraduate major, prospective lawyers should develop proficiency in writing and speaking, reading, researching, analyzing, and thinking logically-skills needed to succeed both in law school and in the law.

Regardless of major, a multidisciplinary background is recommended. Courses in English, foreign languages, public speaking, government, philosophy, history, economics, mathematics, and computer science, among others, are useful.

Students interested in a particular aspect of law may find related courses helpful. For example, prospective patent lawyers need a strong background in engineering or science, and future tax lawyers must have extensive knowledge of accounting.

Acceptance by most law schools depends on the applicant’s ability to demonstrate an aptitude for the study of law, usually through undergraduate grades, the Law School Admission Test (LSAT), the quality of the applicant’s undergraduate school, any prior work experience, and sometimes, a personal interview

. However, law schools vary in the weight they place on each of these and other factors.



Training, qualifications and advancement for lawyers

All law schools approved by the American Bar Association require applicants to take the LSAT. As of 2006, there were 195 ABA-accredited law schools; others were approved by State authorities only.

Nearly all law schools require applicants to have certified transcripts sent to the Law School Data Assembly Service, which then submits the applicants’ LSAT scores and their standardized records of college grades to the law schools of their choice.

The Law School Admission Council administers both this service and the LSAT. Competition for admission to many law schools—especially the most prestigious ones—is usually intense, with the number of applicants greatly exceeding the number that can be admitted.

During the first year or year and a half of law school, students usually study core courses, such as constitutional law, contracts, property law, torts, civil procedure, and legal writing.

In the remaining time, they may choose specialized courses in fields such as taxes, labor, or corporate law.

Law students often gain practical experience by participating in school-sponsored legal clinics; in the school’s moot court competitions, in which students conduct appellate arguments; in practice trials under the supervision of experienced lawyers and judges; and through research and writing on legal issues for the school’s law journals.

A number of law schools have clinical programs in which students gain legal experience through practice trials and projects under the supervision of lawyers and law school faculty. Law school clinical programs might include work in legal aid offices, for example, or on legislative committees.

Part-time or summer clerkships in law firms, government agencies, and corporate legal departments also provide valuable experience. Such training can lead directly to a job after graduation and can help students decide what kind of practice best suits them.

Law school graduates receive the degree of juris doctor (J.D.), a first professional degree.

Advanced law degrees may be desirable for those planning to specialize, research, or teach.

Some law students pursue joint degree programs, which usually require an additional semester or year of study. Joint degree programs are offered in a number of areas, including business administration or public administration.

After graduation, lawyers must keep informed about legal and nonlegal developments that affect their practices.

In 2006, 43 States and jurisdictions required lawyers to participate in mandatory continuing legal education.

Many law schools and State and local bar associations provide continuing education courses that help lawyers stay abreast of recent developments. Some States allow continuing education credits to be obtained through participation in seminars on the Internet.



**Becoming a lawyer: licensure for lawyers and attorneys

To practice law in the courts of any State or other jurisdiction, a person must be licensed, or admitted to its bar, under rules established by the jurisdiction’s highest court. All States require that applicants for admission to the bar pass a written bar examination; most States also require applicants to pass a separate written ethics examination.

Lawyers who have been admitted to the bar in one State occasionally may be admitted to the bar in another without taking another examination if they meet the latter jurisdiction’s standards of good moral character and a specified period of legal experience.

In most cases, however, lawyers must pass the bar examination in each State in which they plan to practice. Federal courts and agencies set their own qualifications for those practicing before or in them.

To qualify for the bar examination in most States, an applicant must earn a college degree and graduate from a law school accredited by the American Bar Association (ABA) or the proper State authorities.

ABA accreditation signifies that the law school, particularly its library and faculty, meets certain standards. With certain exceptions, graduates of schools not approved by the ABA are restricted to taking the bar examination and practicing in the State or other jurisdiction in which the school is located; most of these schools are in California.

Although there is no nationwide bar examination, 48 States, the District of Columbia, Guam, the Northern Mariana Islands, Puerto Rico, and the Virgin Islands require the 6-hour Multistate Bar Examination (MBE) as part of their overall bar examination; the MBE is not required in Louisiana or Washington.

*** The MBE covers a broad range of issues, and sometimes a locally prepared State bar examination is given in addition to it. The 3-hour Multistate Essay Examination (MEE) is used as part of the bar examination in several States. States vary in their use of MBE and MEE scores.

Many States also require Multistate Performance Testing to test the practical skills of beginning lawyers.

Requirements vary by State, although the test usually is taken at the same time as the bar exam and is a one-time requirement.

In 2007, law school graduates in 52 jurisdictions were required to pass the Multistate Professional Responsibility Examination (MPRE), which tests their knowledge of the ABA codes on professional responsibility and judicial conduct. In some States, the MPRE may be taken during law school, usually after completing a course on legal ethics.




Other qualifications for beginning attorneys and lawyers

The practice of law involves a great deal of responsibility. Individuals planning careers in law should like to work with people and be able to win the respect and confidence of their clients, associates, and the public. Perseverance, creativity, and reasoning ability also are essential to lawyers, who often analyze complex cases and handle new and unique legal problems.

Most beginning lawyers start in salaried positions. Newly hired attorneys usually start as associates and work with more experienced lawyers or judges.

After several years, some lawyers are admitted to partnership in their firm, which means they are partial owners of the firm, or go into practice for themselves

. Some experienced lawyers are nominated or elected to judgeships. (See the section on judges, magistrates, and other judicial workers elsewhere in the Handbook.) Others become full-time law school faculty or administrators; a growing number of these lawyers have advanced degrees in other fields as well.

Some attorneys use their legal training in administrative or managerial positions in various departments of large corporations.

A transfer from a corporation’s legal department to another department often is viewed as a way to gain administrative experience and rise in the ranks of management.
...................


ไหนๆก็มีคำถามเข้ามา ว่าจะต้องทำอย่างไรที่จะเป็นทนาย

อ่านคำตอบในช่วงปลายๆของข้อมูลนี้นะคะ จะต้องมีการสอบเข้าระบบค่ะ
และเส้นทางการทำงานของทนาย จะมีการแข่งขันกับผู้อยู่ในวงการนี้ด้วย
การทำงานหลายๆปี สะสมประสบการณ์ จะก้าวสู่ผู้เชี่ยวชาญในการสอนได้
และหรือมีโอกาสสูงในการเป็นผู้บริหาร มีอำนาจเกี่ยวข้องกับการศาลด้วย

ต่างกันมากทิ้งระยะ กับ เจ้าหน้าที่ข้อมูลเอกสาร ฝ่ายให้คำปรึกษาทั่วไป
ซึ่งจะมิได้อยู่ในส่วนพัฒนาทางกฎหมายหรือระบบศาลสูงสุด ไปไม่ถึงค่ะ

ความสามารถของทนายตัวจริงในสหรัฐฯ จะสามารถเขียนหนังสือกฎหมาย
ออกมาได้ด้วยตนเอง เพราะมีพื้นฐานทางการศึกษาในยูรับรองกับปสก.
ในการทำงานอย่างช่ำชอง มากกว่าความรู้ประวัติคดีหรือข้อมูลเบื้องต้น

หวังว่าจะได้ประโยชน์นะคะ ถ้าคุณอ่านทั้งหมดนี้ได้ โดยไม่ต้องใช้ดิคช่วย
ก็น่าจะพอมีหวังในการสอบเข้าสู่วงการเป็นทนายและมีอนาคตสาขานี้ค่ะ


ตอบกลับความเห็นที่ 5
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 6
ผมเป็นคนหนึ่งที่ต้องการคำตอบในด้านกฏหมายในประเทศไทย บางครั้งไม่สะดวกที่จะต้องโทรถามข้ามประเทศ
ถ้าเจ้าของกระทู้หมายถึงอย่างที่ผมเข้าใจก็จะเป็นการช่วยสังคมไทยในอเมริกาได้อย่างมากทีเดียวครับ

ผมอ่านแล้วเข้าใจว่า จขกท ไม่ทราบกฏหมายเมกาถึงอยากจะมั่นใจว่าทำแล้วจะไม่เดือดร้อน ขอบอกว่าทำได้นะ
ครับไม่ต้องมีใบอนุญาตแค่จะให้คำปรึษา แต่ถ้าที่สงสัยคือเรื่องเกี่ยวกับการมีรายได้จากตรงนี้(ถ้ามี)นั่นต้องว่ากันอีกที

ปล ผมไม่ได้อ่านความคิดเห็นอื่นๆเลยไม่แน่ใจว่าซ้ำหรือขัดแย้งกับใครหรือไม่

ตั๋วทนาย = ใบอนุญาต ..ไม่จำเป็นต้องมีครับ

ตอบกลับความเห็นที่ 6
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 7
เพิ่มเติม

ในแอลเอนั้น มีเจ้าหน้าที่ข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศ
สังกัดกรมการกงสุล ผู้มีความรู้สาขานิติศาสตร์ จากจุฬาฯ มาทำหน้าที่
ดูแลแผนกคุ้มครองคนไทยในต่างประเทศ และมีแผนกนิติกรณ์อยู่แล้ว

ถ้าหากคนไทยในแอลเอ ต้องการข้อมูลกฎหมายไทย ถามได้จากกงสุล
ในเวลาราชการตลอดทุกวัน หรือติดต่อด้วยตนเอง กรณีกฎหมายสำคัญ

นอกจากนี้ หน่วยงานมีทั้งหนังสือคู่มือ ที่ให้ความรู้พื้นฐานอยู่แล้วโดยตรง
ทั้งเว็บไซต์ อัพเดทข้อมูลเกี่ยวกับข้อบัญญัติทางกฎหมายที่คนไทยควรรู้


อย่างไรก็ตาม ถ้าหากมีทนายจากไทย ที่ต้องการจะช่วยเหลือคนที่แอลเอ
หรือในสหรัฐฯ ในลักษณะทนายอาสา ไม่คิดมูลค่า ในการให้คำปรึกษาใด
ก็น่าจะติดต่อให้หน่วยงานราชการทราบ เพื่อให้มีการประสานงานที่ตรงกัน

หากไม่เช่นนั้น การจะไปเปิดบู้ธ ให้คำปรึกษา ในที่อื่นๆ หรือตามงานต่างๆ
อย่างน้อย ก็คงต้องมีสังกัดกับคนจัดงานนั้นๆ หรือมีเครดิตว่าเป็นทนายจริง

กรณีที่จะตั้งสนง.ให้คำปรึกษากฎหมาย ของคนไทยเพื่อคนไทย ในสหรัฐ
ต้องผ่านขั้นตอนขอยื่นเรื่องเปิดออฟฟิซ ตามกฎเมือง กฎหมายรัฐอยู่ดี

คงไม่ง่ายนัก ที่จะสามารถให้คำปรึกษา โดยไม่ทำเป็นธุรกิจ ไปตลอดชีพ
เพราะความรู้ในสาขานี้ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับการตัดสิน ความเที่ยงธรรม

ถึงอย่างไร ก็ต้องมีอะไรสักอย่าง ที่ไหนสักแห่ง ยีนยันที่มาที่ไปให้สังคมรู้
ยังไม่เคยได้ยินทนายไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ในชุมชนไทยคนใด
ที่จะประสบความสำเร็จ เพราะว่าจะไม่ได้รับความยอมรับเท่ากับสำนักอื่น

และคงมีน้อยมากทีเดียว ที่จะยืนอยู่ได้ ด้วยการให้คำปรึกษาไม่คิดสตางค์
ตลอดเวลา แล้วจะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างไร นอกจากเป็นผู้มีสวัสดิการครบ
หรือผ่านช่วงเกษียณมาแล้ว เป็นทนายที่ปรึกษาอาวุโส กิตติมศักดิ์เท่านั้น


ถ้ามีเจตนาจะช่วย ที่ไม่ใช่หารายได้ ลองติดต่อสกญ.แอลเอดูค่ะ
เพราะเขาอาจแนะนำให้เข้าไปช่วยงานนิติกรณ์ ในศูนย์องค์กรกฎหมาย
หรือองค์กรที่ต้องการคนไทย ที่พูดได้สองภาษา แต่ก็ต้องยื่นคุณวุฒิด้วย
เมื่อไม่นานมานี้ ก็มีประกาศ ระบุคุณสมบัติไว้หลายประการให้คนพื้นที่ทำ
ส่วนมาก คนที่จะได้รับคัดเลือก คนไหนมีวุฒิของยูทางนี้ ก็มีโอกาสสูง
กว่า เพราะความรู้กฎหมายสากลและกฎหมายท้องที่ ก็ต้องแม่นมาตรฐาน


ตอบกลับความเห็นที่ 7
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 8
มีเวลาอ่านอีกรอบ แค่บรรทัดแรกของ จขกท ก็เข้าใจได้ทันทีจากข้อเปรียบเทียบที่ยกขึ้นมา พออ่านลงมาถึง 4 และ 5 ทำให้ต้องย้อนขึ้นไปอ่านข้อความ จขกท
อีก3รอบ


ตอบกลับความเห็นที่ 8
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 9
ขอบคุณสำหรับทุกท่านและทุกคำตอบครับ ผมพอจะได้แนวทางบ้างแล้ว แต่ขอเรียนถามท่าน Techie เพิ่มเติมดังนี้ครับ คือผมเป็นทนายไทย มีใบ

อนุญาตตามกฎหมายไทย มีทีมงานและสำนักงานทนายความในประเทศไทย แต่ต้องเดินทางไปมาระหว่างประเทศไทยและสหรัฐอเมริกาโดยสามารถอาศัย

อยู่และทำงานได้อย่างถูกต้องในสหรัฐอเมริกา แต่ผมประสงค์ที่จะเปิดสำนักงานให้บริการปรึกษากฎหมายไทยที่เกี่ยวเนื่องกับคนไทยที่อาศัยอยู่ใน

สหรัฐอเมริกา และไม่สะดวกในการติดต่อ และไม่สามารถไปดำเนินการบางเรื่องด้วยตนเองได้ และนิติกรของสถานฑูตไทยก็ไม่สามารถไปดำเนินการแทนได้ทุกเรื่อง

ซึ่งผมคิดว่าผมสามารถอำนวยความสะดวกตรงนี้ให้ได้ เช่นการเดินทางไปพบกับลูกความ เป็นตัวแทน เป็นผู้รับมอบอำนาจ ไปดำเนินการในศาลตามกฎหมายไทยในประเทศไทยตามที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น

การให้บริการดังกล่าวอาจมีค่าบริการเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ผมเลยมีคำถามที่ว่า ผมสามารถจะเปิดสำนักงานและให้คำปรึกษากฎหมายไทยกับคน

ไทยในสหรัฐได้อย่างถูกต้องหรือไม่ คือมีข้อห้าม กฎหมายที่ควรรู้ก่อนให้คำปรึกษา หรือต้องดำเนินการอย่างไรให้ถูกต้องตามกฎหมายของรัฐนั้น

ผมเข้าใจว่าการเปิดสำนักงานต้องเสียค่าเช่าสำนักงาน ภาษีราย ค่าน้ำ ค่าไฟ แน่นอน แต่ถ้ามีข้อห้ามอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกรณีให้คำปรึกษาและการเปิด

สำนักงานฯ ที่ควรรู้ก็จะเป็นประโยชน์สำหรับผมและทนายไทยหลายท่านที่อยากรู้เช่นเดียวกันกับผมครับ ขอขอบคุณอีกครั้งสำหรับทุกคำตอบครับ


ตอบกลับความเห็นที่ 9
   
  
 
 
   
ความคิดเห็นที่ 10
เกี่ยวกับด้านให้คำปรึกษา ในแง่ทางกฏหมายของสหรัฐคงไม่มีข้อห้ามอะไรครับ เพราะไม่เกี่ยวกัน
ถึงคุณจะให้คำปรึกษาด้าน"กฏหมายสหรัฐ"ก็คงไม่เกี่ยวเช่นกัน เพราะแค่เป็นผู้ปรึกษาหรือให้คำแนะ
นำไม่มีกฏหมายระบุว่าต้องมีใบอนุญาต แต่ถ้าถามว่าะธุระกิจนี้ไปไหวไหม คนไทยในเมกาที่จะต้อง
ทำธุรกรรมด้านกฏหมายในเมืองไทยคงยังเป็นส่วนน้อยอยู่ครับ หรืออาจะจะเป็นเพราะว่ายังต้องเดิน
ทางไปวิ่งเต้นเองที่ไทยจึงไม่ค่อยมีใครนึกถึงบริการข้ามประเทศแบบนี้ก็ได้

ส่วนเรื่องถ้าคุณจะเปิดเป็นกิจลักษณะการค้าก็อาจจะต้องมีการทะเบียนการค้า รายละเอียดพวกนี้ผมจำ
ไม่ค่อยได้และไม่ค่อยถนัด เคยเปิดร้านนานมากแล้วก็มีคนไปจัดการให้ แต่เดี่๋ยวคงมีท่านอื่นๆมาแนะนำ
ต่อให้ครับ


ตอบกลับความเห็นที่ 10